ใน VLOG ที่แล้ว “โต ติงต๊อง” ได้พูดถึง Sample Rate ให้เข้าใจง่าย ๆ และชัดเจนไปแล้ว โดยเชื่อว่าหลายคนพอจับทางได้ว่า “ความละเอียดสูง” ไม่ได้หมายถึง “คุณภาพเสียงดี” เสมอไป คราวนี้ถึงเวลาของ Bit-Depth กันบ้าง ซึ่งในงานเสียงมืออาชีพไม่ได้มีผลต่อความละเอียดมากไปกว่า “ความดัง” หรือ “ความแรง” ของสัญญาณเสียงต้นฉบับที่สามารถทำสำเนาเก็บเป็นไฟล์ดิจิตอลได้ หากดู VLOG ตอนนี้จนเข้าใจจะอ๋อทันทีว่าทำไมปัจจุบันถึงนิยมใช้ Bit-Depth 24-Bit และความสำคัญ (เว่อร์วัง) ของสิ่งที่เรียกว่า 32-Bit Floating Point ที่มีทั้งข้อได้เปรียบและแผนการตลาดจากผู้ผลิตจ้าาา
VLOG
EP760: รู้จัก Bit Depth และความเว่อร์ของ 32-Bit Floating Point


โต ติงต๊อง
เจ้าของเว็บซึ่งจับพลัดจับผลูทำงานในอุตสาหกรรมเสียงมืออาชีพ (Professional Audio) ตั้งแต่มัธยมปลายอย่างงง ๆ แต่ก็งงจนได้ปริญญา Bachelor of Arts (Honours) in Audio Production จาก Middlesex University, London นะ
VLOG ล่าสุด
แชร์ VLOG นี้...
Facebook
Twitter
Like FB Page ของเรา...
VLOG ที่เกี่ยวข้อง

EP760: รู้จัก Bit Depth และความเว่อร์ของ 32-Bit Floating Point
09/25/2024
ใน VLOG ที่แล้ว “โต ติงต๊อง”

EP759: 96KHz เสียงดีกว่า 48KHz จริงเหรอ ?
09/18/2024
เป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่าตัวชี้วัดคุณภาพเสียงที่เป็นสัญญาณหรือข้อมูลดิจิตอลมี 3 อย่าง (Bit-Depth, Sample

EP758: เปรียบเทียบไมค์เทพ Neumann KMS 105 และ DPA d:facto
09/04/2024
ถ้าคุณเป็นนักร้องลูกเล่นแพรวพราว, ความสามารถและชั่วโมงบินสูงที่กำลังมองหาไมโครโฟนเกรดพรีเมี่ยมที่เหมาะกับตัวเองมาใช้ยาว ๆ และคาดหวังคุณภาพเสียงที่ละเอียดละอออย่างที่สุดและใช้ได้นานเป็นสิบปี เมื่องบประมาณไม่ใช่ปัญหาจะเป็นอย่างอื่นไม่ได้นอกจากสองรุ่นนี้