EP760: รู้จัก Bit Depth และความเว่อร์ของ 32-Bit Floating Point
ใน VLOG ที่แล้ว “โต ติงต๊อง” ได้พูดถึง Sample Rate
ใน VLOG ที่แล้ว “โต ติงต๊อง” ได้พูดถึง Sample Rate
เป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่าตัวชี้วัดคุณภาพเสียงที่เป็นสัญญาณหรือข้อมูลดิจิตอลมี 3 อย่าง (Bit-Depth, Sample Rate และ Codec)
เป็นเรื่องปกติที่นักดนตรีสามารถนำเครื่องดนตรีส่วนตัวขึ้นเวทีประกวด โดยสิ่งที่นำขึ้นบนเวทีมักมีขอบเขตชัดเจนว่าอะไรได้อะไรไม่ได้ แต่ที่เป็นปัญหาและท้าทายที่สุดคือนักร้องเพราะการนำไมโครโฟนส่วนตัวขึ้นมาใช้บนเวทีถือเป็นพื้นที่สีเทาที่ทั้งคนควบคุมเสียงและกองประกวดต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ แม้ฝั่งนักร้องมีเหตุผลที่น่าเชื่อถือและมองการห้ามใช้ไมโครโฟนส่วนตัวบนเวทีประกวดดนตรีเป็นเรื่องไร้สาระก็ตาม ในฐานะที่ “โต ติงต๊อง” เคยควบคุมเสียงในงานประกวดดนตรีมาบ้าง
ตั้งแต่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา ตัวเลือกไมค์ลอยหรือไมโครโฟนไร้สายความถี่ใหม่ 694-703
รู้กันว่า SHURE SM58 เป็นไมโครโฟนร้องและพูดในงานแสดงสดที่ทนมือทนตีนมาก แม้ราคาต่ำกว่า 5,000 บาท แต่สามารถใช้ได้ยาวนานนับสิบปี
สมัยที่ “โต ติงต๊อง” เริ่มให้บริการ In-Ear Monitor ใหม่ ๆ
VLOG ตอนนี้คือตอนสุดท้ายของการจูนแอมป์ (Power Amplifier) ให้แมชตู้ลำโพง ถ้าดูไม่เข้าใจกรุณาย้อนกลับไปดูตั้งแต่สองตอนก่อนหน้า VLOG ตอนนี้
ใน VLOG ตอนก่อนหน้า “โต ติงต๊อง” ได้อธิบายถึงวิธีการทำงานของแอมป์ไปแล้ว และถ้าดูจนเข้าใจจะรู้เลยว่ามันทำงานคล้ายปั๊มน้ำตามบ้านมาก เพราะแรงดันน้ำ
การจูนแอมป์ (Power Amplifier) ให้แมชตู้ลำโพงเป็นขั้นตอนสำคัญที่ฝั่งเครื่องเสียงรถยนต์ทำกันมานานแล้ว โดยรู้กันว่าการบิดวอลลุ่ม (Gain) ที่แอมป์จะไม่มีทางสุด แต่เนื่องจากฝั่งเครื่องขยายเสียงคิดอีกอย่างและพยายามบิดให้สุดตลอดเวลาด้วยเหตุผลนานับประการ
จากประสบการณ์ที่ “โต ติงต๊อง” ให้บริการปรับจูนระบบเสียงอย่างเป็นล่ำเป็นสัน ความผิดพลาดหนึ่งที่เจอเกือบทุกครั้งเมื่อไปจูนคือการปรับปุ่มหลัง Power Amplifier ไม่สอดคล้องต่อการใช้งาน
ความถี่ต่ำหรือเสียงเบสเป็นองค์ประกอบเสียงที่ทั้งคนพูดและคนฟังเข้าใจกันดีว่าถูกเจือปนได้ง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในงานขยายเสียงหรืองานแสดงสดที่ต้องการเสียงเบสกระชับไม่ขุ่นมัว ซึ่ง Sound Engineer แต่ละคนก็มีวิธีจัดการแตกต่างกันไป โดยหนึ่งในสารพัดวิธีคือ AUX-SUBWOOFER
ถ้าคุณเคยใช้ไมโครโฟน SHURE SM58 จะพบว่ากลางด้ามมันหมุนเกลียวออกมาเป็นสองส่วนได้ และภายในด้ามมีหม้อแปลงสีเหลืองอันเล็ก ๆ ซ่อนอยู่ หลายคนที่เคยทดลองต่อตรงโดยไม่ใช้หม้อแปลง